วันพฤหัสบดีที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2554

เทศนาโวหาร


๓. เทศนาโวหาร หมายถึง โวหารที่มีจุดหมายแสดงความแจ่มแจ้งเพื่อให้ผู้อ่านคล้อยตามหรืออาจกล่าวได้ว่ามุ่งชักจูงให้ผู้อ่าน คิดเห็นหรือคล้อยตามความคิดเห็นของผู้เขียน เทศนาโวหารจึงยากกว่าโวหารที่กล่าวมา เพราะต้องใช้กลวิธีในการชักจูงใจ 


เทศนาโวหาร แปลว่า โวหารที่มุ่งสั่งสอน โดยตีความคาว่าเทศนา ว่าสั่งสอน

    ความจริงเทศนาในที่นี้ หมายถึง แสดง กล่าวคือ แสดงอย่างแจ่มแจ้งเพื่อให้เห็นคล้อยตาม รูปแบบงานเขียนที่ควรใช้เทศนาโวหารคือ งานเขียนประเภทบทความชักจูงใจ หรือบทความแสดงความคิดเห็น ความเรียง เป็นต้น

หลักการเขียนเทศนาโวหาร
การเขียนเทศนาโวหารต้องใช้โวหารประเภทต่าง ๆ มาประกอบ ทั้งนี้เพื่อให้ใจความชัดเจนแจ่มแจ้ง มีทั้งความหลักและความรองเป็นที่เข้าใจจนเกิดความรู้สึกนึกคิดคล้อยตามผู้เขียน หากเป็นการแสดงความคิดเห็นควรอธิบายทั้งด้านที่เป็นประโยชน์และโทษ หรือแสดงเหตุและผลการเขียนเทศนาโวหาร ผู้เขียนต้องมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่เขียนเป็นอย่างดี สามารถอธิบายอย่างชัดเจน ทั้งควรพรรณนาให้เกิดความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ต้องรู้จักใช้เหตุผล และหลักฐานสนับสนุนความคิด

ตัวอย่างเทศนาโวหารแบบร้อยแก้ว
๑. ความสามัคคี คือ ความพร้อมเพียงกัน การร่วมแรงร่วมใจ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในการทางาน เพื่อให้งาน สำเร็จเรียบร้อยลุล่วงไปได้ด้วยดี และการอยู่ร่วมกันอย่างปรองดอง อย่างมีความสุขความเจริญก้าวหน้า ความ
๒. ขยันหมั่นเพียร คือ ความมุ่งหมั่น ไม่เกียจคร้าน ต่อการทำสิ่งต่างๆ ผู้ที่มีความขยันหมั่นเพียรจะนำมาซึ่งความสำเร็จในชีวิต ดังนั้นเพื่อความสำเร็จในชีวิตถึงแม้จะเหนื่อยยากอย่างไรก็ไม่ควรท้อถอย ต้องอดทนเพื่ออนาคตที่ดีในวันข้างหน้า 

๓. อบายมุข คือ ทางแห่งความฉิบหาย มี ๒ หมวด คือ อบายมุข ๔ ได้แก่ ๑. เป็นนักเลงหญิง ๒. เป็นนักเลงสุรา ๓. เป็นนักเลงการพนัน ๔. คบคนชั่วเป็นมิตร อบายมุข ๖ ได้แก่ ๑. ดื่มน้ำเมา ๒. เที่ยวกลางคืน ๓. เที่ยวดูการเล่น ๔. เล่นการพนัน ๕. คบคนชั่วเป็นมิตร ๖. เกียจคร้านการทางาน ถ้าผู้ใดหลงติดอบายมุขเข้า ก็ย่อมนำความเสื่อมมาสู่ตนเอง และครอบครัวและไม่มีอนาคต 

ตัวอย่างเทศนาโวหารแบบร้อยกรอง
          แล้วสอนว่าอย่าไว้ใจมนุษย์      ถึงเถาวัลย์พันเกี่ยวที่เลี้ยวลด
มนุษย์นี้ที่รักอยู่สองสถาน                  ที่พึ่งหนึ่งพึ่งได้แต่กายตน
แม้นใครรักรักมังชังชังตอบ                รู้อะไรใดไม่สู้รู้วิชา
  (คำประพันธ์นี้ มาจากเรื่องพระอภัยมณี เป็นการสอนหลักในการคบคน รู้จักพึ่งตนเอง รู้จักการใฝ่หาความรู้ และการรักษาตัว)

30 ความคิดเห็น:

  1. ไม่ระบุชื่อ17/8/55 09:29

    ดีจัง ความรู้แยอะเลย

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. ไม่ระบุชื่อ20/12/55 20:53

      ดีจัง คำตอบเยอะดี มีส่งครูด้วย

      ลบ
    2. เย้มีรายงานส่งครูแล้ว

      ลบ
    3. ไม่ระบุชื่อ4/11/63 18:54

      การบ้านเสร็จแล้ว

      ลบ
  2. ไม่ระบุชื่อ6/4/56 08:28

    ดีมาก

    ตอบลบ
  3. ไม่ระบุชื่อ4/6/56 20:36

    ขอบคุณค่ะ มีการบ้านส่งครูด้วย

    ตอบลบ
  4. ไม่ระบุชื่อ2/9/56 18:45

    เย้

    ตอบลบ
  5. ไม่ระบุชื่อ10/11/56 17:04

    เสร็จ แย้ว การบ้าน ส่งครู

    ตอบลบ
  6. ไม่ระบุชื่อ9/12/56 17:54

    ขอบคุณนะคะ
    ดูทุกอันเลยคะ

    ตอบลบ
  7. ไม่ระบุชื่อ3/6/57 21:39

    มีงานส่งคุณครูแล้ว ขอบคุณมากเลยค่ะ

    ตอบลบ
  8. ไม่ระบุชื่อ22/7/57 18:10

    ให้ความรู้ได้ดีมากและเข้าใจง่ายครัช

    ตอบลบ
  9. ไม่ระบุชื่อ12/9/57 16:44

    ขอบคุณมากนะคะ (^-^)

    ตอบลบ
  10. ไม่ระบุชื่อ10/6/58 22:18

    ขอบคุณค่ะ

    ตอบลบ
  11. ขออนุญาตนำไปใช้นะคะ แต่ผิดอยู่นิดนึง
    แล้วสอนว่าอย่าไว้ใจมนุษย์ มันแสนสุดลึกล้ำเหลือกำหนด
    ถึงเถาวัลย์พันเกี่ยวที่เลี้ยวลด ก็ไม่คดเหมือนหนึ่งในน้ำใจคน

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. ไม่ระบุชื่อ25/5/59 15:49

      ขอบคุณค่ะ

      ลบ
    2. ไม่รอบคอบลอกไปเเล้วนะค่ะ ต้องมานั่งลบเเก้ใหม่

      ลบ
  12. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  13. ทำการบ้านได้แล้ว

    ตอบลบ
  14. ไม่ระบุชื่อ7/12/59 09:31

    ไอนี้มันเอามายำมั่วนี่หว่า

    ตอบลบ
  15. มีการบ้านส่งครูล่ะ เย้ๆๆๆ

    ตอบลบ
  16. ความคิดเห็นนี้ถูกลบ

    ตอบลบ
  17. ขอบคุณครับ

    ตอบลบ
  18. ไม่ระบุชื่อ2/2/66 18:39

    ถ้าเเต่ประโยคนี่ต้องทำยังไงหรอคะ

    ตอบลบ
  19. ไม่ระบุชื่อ29/6/66 08:08

    ถึงจะไม่ค่อยใจนิดหน่อย แต่ก็ถูกทุกข้อ

    ตอบลบ
  20. ไม่ระบุชื่อ4/7/66 15:56

    ไม่

    ตอบลบ
  21. ไม่ระบุชื่อ4/7/66 15:56

    ไม่

    ตอบลบ